หมายถึง เครื่องหมายต่างๆ ที่มนุษย์เป็นผู้กำหนดขึ้นใช้สำหรับแทนอุปกรณ์ต่างๆ ทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
สัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจร(Circuit and Eletronic Symbols)
สัญลักษณ์แทนตัวอุปกรณ์จะถูกใช้ใน แผนภาพวงจร เพื่อแสดงให้เห็นการต่อเข้าด้วยกันของวงจร แต่รูปแบบตัวอุปกรณ์จริงจะแตกต่างจากแผนภาพวงจร ฉะนั้นในการสร้างวงจรจึงจำเป็นต้องมีแผนภาพแสดงการวางอุปกรณ์บน สตริปบอร์ด หรือ แผ่นปริ้นท์
มีสัญลักษณ์ดังนี้
1. สวิตช์ (Switch) เป็นอุปกรณ์สำหรับตัดหรือเชื่อมต่อวงจรหรือสัญญาณไฟฟ้า
สัญลักษณ์ | คำอธิบาย | ตัวอย่างจริง |
---|---|---|
![]() |
สวิตช์กดติด กดดับ | ![]() |
![]() |
สวิตช์กดติดปล่อยดับ หรือ สวิตช์ปกติตัด ถ้าไม่กดวงจรจะตัด ถ้ากดวงจรจะต่อ | |
![]() |
สวิตช์กดดับปล่อยติด หรือสวิตช์ปกติต่อ ถ้าไม่กดวงจรจะต่อ ถ้ากดวงจรจะตัด | |
![]() |
สวิทช์โยก สำหรับเลือก | ![]() |
![]() |
สวิตช์โยกแบบขนาน | |
![]() |
สวิตช์เลื่อน | ![]() |
![]() |
สวิตช์เลื่อนแบบขนาน | ![]() |
2. ตัวต้านทาน (resister) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า ถ้าตัวต้านทานมีค่าความต้านทานมากกระแสจะไหลได้น้อย ในทางกลับกันถ้ามีค่าความต้านทานน้อยกระแสจะไหลได้มาก
สัญลักษณ์ | ตำอธิบาย | ตัวอย่างจริง |
---|---|---|
![]() |
ตัวต้านทานแบบไม่สามารถปรับค่าได้ | ![]() |
![]() |
ตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ | ![]() ![]() |
![]() |
ตัวต้านทานแบบ SIP | ![]() |
![]() |
ตัวต้านทานแปรค่าตามแสง (LDR) | ![]() |
![]() |
เทอร์มิสเตอร์ | ![]() |
สัญลักษณ์ | ตำอธิบาย | ตัวอย่างจริง |
---|---|---|
![]() |
ตัวเก็บประจุแบบไม่มีขั้ว | ![]() |
![]() |
ตัวเก็บประจุแบบที่มีขั้ว ขาด้านซ้ายจะเป็นขาบวก โดยมากตัวถังของตัวเก็บประจุจะมีแถบที่ระบุขั้วลบ | ![]() |
![]() |
ตัวเก็บประจุแบบปรับค่าได้ | ![]() |

ทิศทางที่ยอมให้กระแสไหลผ่าน
สัญลักษณ์ | ตำอธิบาย | ตัวอย่างจริง |
---|---|---|
![]() |
ไดโอด ที่ตัวอุปกรณ์จะมีรหัสแถบสี ซึ่งแสดงขาแคโทด (ขาด้านที่มีแถบสี) | ![]() |
![]() |
ไดโอดเปล่งแสง เมื่อมีกระแสไหลจะเปล่งแสงออกมา ที่ฐานของหลอดด้านที่มีรอยบากแสดงขาแคโทด (ขาสั้นแคโทด และขายาวแอโนด) | ![]() |
![]() |
โฟโตไดโอด เป็นไดโอดที่จะทำงานเมื่อมีแสงมาตกกระทบ | ![]() |
![]() |
7-segment | ![]() |
![]() |
ไดโอดเปล่งแสงสองสี | ![]() |
สัญลักษณ์ | ตำอธิบาย | ตัวอย่างจริง |
---|---|---|
![]() |
ทรานซิสเตอร์แบบ NPN | ![]() |
![]() |
ทรานซิสเตอร์แบบ PNP | |
![]() |
โฟโตทรานซิสเตอร์ (photo transistor) | ![]() |
สัญลักษณ์ | ตำอธิบาย | ตัวอย่างจริง |
---|---|---|
![]() |
ออปแอมป์ (op-am) เป็นอุปกรณ์สำหรับขยายสัญญาณ โดยปกติอุปกรณ์ดังกล่าวจะอยู่ในรูปของไอซี โดยไอซีตัวหนึ่งอาจมีออปแอมป์อยู่ภายในได้หลายตัว | ![]() |
![]() |
คริสตัล (crystal) เป็นตัวกำเนิดสัญญาณนาฬิกา | ![]() |
![]() |
ลำโพง | ![]() |
![]() |
หม้อแปลง | ![]() |
![]() |
รีเลย์ | ![]() |
สัญลักษณ์ | ตำอธิบาย | |
---|---|---|
![]() |
ต่อกับแหล่งจ่ายไฟ 5 โวลต์ | |
![]() |
สายดิน |
สัญลักษณ์ | ตำอธิบาย | ตัวอย่างจริง |
---|---|---|
![]() |
เทอร์มินอลบล็อก | ![]() |
![]() |
เพาเวอร์แจ็ค | ![]() |
![]() |
ขั้วต่อ ชุดขาจัมป์เปอร์ | ![]() |
![]() |
คอนเนคเตอร์ | ![]() |
สัญลักษณ์ | ตำอธิบาย | |
---|---|---|
![]() |
สายสัญญาณที่เชื่อมต่อกัน | |
![]() |
การลากข้าม |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น