ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม
3.1 ภาษาที่ใช้สำหรับ PLC มีหลายภาษาด้วยกัน คือ
3.1.1 ภาษาแลดคเดอร์
3.1.2 ภาษาบูลลีน
3.1.3 ภาษาบล็อด
3.1.4 ภาษาข้อความภาษาอังกฤษ
3.1.5 ภาษาฟังช์ชันชาร์ท
3.1.6 ภาษาแลคเคอร์
3.1.1 ภาษาแลดคเดอร์
3.1.2 ภาษาบูลลีน
3.1.3 ภาษาบล็อด
3.1.4 ภาษาข้อความภาษาอังกฤษ
3.1.5 ภาษาฟังช์ชันชาร์ท
3.1.6 ภาษาแลคเคอร์
ภาษาแลดเดอร์ ประกอบด้วยสัญญลักษณ์หน้าสัมผัส มีลักษณะคล้ายวงจรรีเลย์
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมภาษาแลคเคอร์

โครงสร้างของภาษาบูลลีนประกอบด้วยส่วนหลัก ที่สำคัญ 3 ส่วน ที่สำคัญคือ
1. หมายเลขกำหนดบรรทัด ของโปรแกรม (ADDRESS OR STEP)
2. คำสั่ง .(INSTRUETION WORD)
3. หมายเลขกำกับอุปกรณ์ และหน้าสัมผัสต่าง ๆ (DATA)
ADDRESS
|
INSTRUCTION
|
DATA
|
00000
|
LD
|
00000
|
00001
|
OR
|
10000
|
00002
|
AND NOT
|
00001
|
00003
|
OUT
|
10000
|
00004
|
END
|
-
|
ตารางตัวอย่างการเขียนโปรแกรมคำสั่งบูลลีน

ภาษาบล็อคนี้จะใช้คำสั่ง หรือควบคุมงานที่ซับซ้อน หรือมีข้อมูลที่เป็นตัวเลขเกี่ยวข้อง เช่น การควบคุมที่คำนวณทางคณิตศาสตร์
คำสั่งภาษาบล็อคแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มคำสั่งคือ
1. คำสั่งหน่วงเวลาและนับจำนวน
2. คำสั่งคำนวณทางคณิตศาสตร์
3. คำสั่งการจัดการข้อมูล
4. คำสั่งการเคลื่อนย้ายข้อมูล

ที่ใช้คำสั่งข้อความภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ใช้กับ PLC ขนาดใหญ่ มีการคำนวณที่ซับซ้อนและการจัดการ ข้อมูลจำนวนมาก

3.2.1 ความถนัดของผู้ใช้
3.2.2 ลักษณะของภาษาที่จะใช้ให้เหมาะสมกับงาน
3.2.3 ลักษณะและขนาดของ PLC
3.2.4 ลักษณะของที่จะทำการควบคุม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น