วันจันทร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Raspberry Pi ขั้นตอนการติดตั้ง Apache, PHP, MySQL



      Raspberry Pi เองเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่รัน Linux อยู่ภายใน และสามารถใช้งาน Server เพื่อทำงานเป็น WEB Base Sever ที่สามารถใช้งาน PHP กับ MySQL ดังนั้นเราจะมาทำการติดตั้ง Apache, PHP, MySQL บน Raspberry Pi กันดูบ้าง

@ ต้องทำการ update มาก่อนเสมอ (ถ้าเคยทำแล้วก็ข้ามขั้นตอนนี้ไป)
sudo apt-get update

@ ติดตั้ง apache2 เป็น Server
sudo apt-get install apache2
(เมื่อใช้ Browser เปิดเข้า 192.168.xxx.xxx ของ Raspberry จะขึ้น It works! )

@ ติดตั้ง mysql ใช้งานฐานข้อมูลใน Server
sudo apt-get install mysql-server
(mysql-server จะให้ตั้งรหัสผ่านใหม่ ของ user : root)

@ ติดตั้ง php5 ใช้งานใน Server
sudo apt-get install php5

@ ติดตั้ง phpmyadmin ใช้งานฐานข้อมูลใน Server
sudo apt-get install phpmyadmin
(phpmyadmin จะให้ตั้งรหัสผ่านใหม่ ตั้ง user : root เหมือน mysql-server)

@ คัดลอกโฟลเดอร์ phpmyadmin ไปไว้ที่ www เพื่อใช้งาน
sudo ln -s /usr/share/phpmyadmin /var/www/phpmyadmin

@ รีสตาร์ท Apache2
sudo service apache2 restart

@ รีสตาร์ท mysql
sudo service mysql restart

@ ทำการคอนฟิกและเพิ่มความปลอดภัยให้ MySQL
sudo mysql_secure_installation






@ เริ่มด้วยการอัพเดทแพคเกจ
sudo apt-get update

แค่อัพเดตก็พอ ไม่ต้องอัพเกรดนะครับ เพราะเราไม่ต้องการใช้ Linux รุ่นใหม่





@ ติดตั้ง apache2 เป็น Server
sudo apt-get install apache2





@ ติดตั้ง mysql ใช้งานฐานข้อมูลใน Server
sudo apt-get install mysql-server




















@ ติดตั้ง php5 ใช้งานใน Server
sudo apt-get install php5





@ ติดตั้ง phpmyadmin ใช้งานฐานข้อมูลใน Server
sudo apt-get install phpmyadmin

• ระหว่างการติดตั้งจะมีการกำหนดรหัสผ่านด้วย โดยให้กำหนดรหัสผ่านสำหรับ MySQL



ติดตั้ง PHPMyAdmin

       • ถ้าต้องการติดตั้ง PHPMyAdmin เพื่อเข้าไปจัดการฐานข้อมูลก็ให้ใช้คำสั่ง sudo apt-get install phpmyadmin -y



       • ระหว่างการติดตั้งจะมีให้กำหนดว่าใช้ Web Server แบบใดอยู่ ให้เลือกเป็น Apache2 แล้วเลือกที่ OK (ใช้ Space Bar เพื่อเลือก และใช้ Tab เพื่อสลับ Cursor ไปมาระหว่างปุ่ม OK)


        • จะมีการตั้งค่าฐานข้อมูล ให้เลือก Yes


       • กำหนดรหัสผ่านสำหรับ Administrator ของฐานข้อมูล


       • กำหนดรหัสผ่านสำหรับฐานข้อมูล



       • เมื่อติดตั้งเสร็จแล้วให้ลองเปิด Web Browser ไปที่ PHPMyAdmin เช่น 192.168.1.37/phpmyadmin หรือ http://localhost/phpmyadmin ถ้าเปิด Web Browser บน Raspberry Pi ก็จะพบกับหน้า Login ของ PHPMyAdmin

       สำหรับ Username ให้ใช้ว่า root และ Password ให้ใช้ตามที่กำหนดไว้ตอนติดตั้ง PHPMyAdmin

       • จะสามารถเข้ามาใช้งาน PHPMyAdmin ได้แล้ว


       เพียงเท่านี้ Raspberry Pi ก็พร้อมจะพัฒนาต่อให้เป็น Web Server ตามใจคุณแล้ว!

@ คัดลอกโฟลเดอร์ phpmyadmin ไปไว้ที่ www เพื่อใช้งาน
sudo ln -s /usr/share/phpmyadmin /var/www/phpmyadmin





@ รีสตาร์ท Apache2
sudo service apache2 restart

@ รีสตาร์ท mysql
sudo service mysql restart

เปิด Web Browser เข้าสู่โดเมนเนมของ Raspi โดยป้อน 192.168.xxx.xxx (ตาม IP ของ Raspberry Pi)





@ ทำการคอนฟิกและเพิ่มความปลอดภัยให้ MySQL
sudo mysql_secure_installation





ใส่รหัสใหม่ ของ root (ห้ามว่างไว้)




ที่เหลือก็ตอบ Yes ให้หมด




เปิด Web Browser เข้าสู่โดเมนเนมของ Raspi
โดยป้อน 192.168.xxx.xxx/phpmyadmin  (ตาม IP ของ Raspberry Pi)








@ ใช้คำสั่ง ให้สามารถ Read, Write, Create ได้
sudo chmod 777 /var/www/ 

ที่มา:http://dtv.mcot.net/data/up_show.php?id=1453811721&web=epost

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น