หลักการเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรม
5.1 หลักการเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรม(Ldder Diagram) แลดเดอร์ไดอะแกรมเป็นโปรแกรมเป็นภาษาที่นิยมเขียนกันมากเพราะคล้ายกับวงจรรีเลย์เพียงแต่ต้องรู้ หลักการแลดเดอร์ไดอะแกรม เพิ่มเติมโดยมีหลัการเขียนดังต่อไปนี้การกำหนดอินพุต เอาต์พุต รีเลย์ภายใน ตัวนับตัวตั้งเวลาหรรือหมายเลขกำกับหน้าสัมผัสขึ้นอยู่กับ PLC ู่แต่ละยี่ห้อ และคุณสมบัติของแต่ละรุ่นและยี่หัอ
ในการเขียนโปรแกรมไม่สามารถเขียนโปแกรมเชื่อมต่อระหว่างบัส(Bus) กับคอยล์โดยตรงได้ในกรณี ที่ต้องการต่อโดยตรงต้องใช้คำสั่งพิเศษหรือรีเลย์พิเศษช่วย
ตำแหน่งหน้าสัมผัสจะวางหลังรีเลย์ไม่ได้
การเขียนโปรแกรมไม่ควรเขียนโปรแกรมให้สั้นแต่ซับซ้อนเพียงแค่ประหยัดหน่วยความจำเท่านั้น ในการเขียนเขียนโปรแกรมนั้นต้องให้เข้าใจง่ายเพื่อสะดวกต่อการตรวจสอบ
หน้าสัมผัสของอินพุต เอาต์พุต รีเลย์ภายในตัวตั้งเวลา ตัวนับ หมายเลขเดียวกันนั้นสามารถใช้ในโปรแกรมได้หลายครั้ง โดยไม่จำกัดจำนวนแต่ใช้หมายเลขเดียวกันในบรรทัดเดียวกันไม่ได้
สัญญาณควบคุมจะไหลจากว้ายไปขวาเท่านั้นไม่สามารถไหลย้อนกลับได้
หน้าสัมผัสอินพุต เอาต์พุต ตัวนับ ตัวตั้งเวลา รีเลย์ภายใน จะนำมาขนานหรืออนุกรมจำนวนมากเท่าใดก็ได้ไม่จำกัด แต่อย่าใช้เบอร์เดียวกันขนานหรืออนุกรมกัน
สามารถที่จะนำเอาขดลวดเอาต์พุตรีเลย์ภายใน ตัวนับตัวตั้งเวลามาต่อขนานกันได้ แต่อย่าใช้เบอร์เดียวกันมาต่อขนานกัน
การส่งสัญญานควบคุมมากกว่าหนึ่งครั้งไปยังขดลวดเอาต์พุตที่เป็นหมายเดียวกันไม่ได้ถ้าต้องใช้ต้องใช้ฟังก์ชันพิเศษมาช่วย
ตัวตั้งเวลาและตัวนับใช้หมายเลขเดียวกันไม่ได้และใช้ไม่สามารถใช้หมายเลขเดียวกันมากกว่าหนึ่งครั้งต้องเปลี่ยนหมายเลขใหม่ที่ไม่ซํ้ากัน
โปรแกรมที่ได้เขียนขึ้นCPU จะทำการEXECUTEDจากบรรทัดแรกถึงบรรทัดคำสั่งEND เป็นคำสั่งแรกที่ถูกใช้โดย ENDอาจมีหลายตํ่งแหน่งก็เป็นไปได้ ซึ่งต้องใช้คำสั่งหรือฟังก์ชันพิฌศษเข้ามาช่วย ที่เป็นเช่นนี้เพื่อจุดประสงค์สำหรับการทดลองโปรแกรม
5.2 การเขียนคำสั่งภาษาบูลีนจากแลดเดอร์ไดอะแกรม
ในการป้อนโปแกรมในนอกจากภาษาแลดเดอร์แล้เรายังสามารถใช้คำสั่งภาษาบูลลีนในการป้อนโปรแกมซึ่งPLCขนาดกลาง
นิยมใช้คำสั่งภาษาบูลลีนมากทั้งนี้ได้มีการแปลงจากแลเดอร์ไดอะแกรมมาเป็นภาษาบูลลีน
โครงสร้างโปรแกรมภาษาบูลลีนประกอบด้วย 3 ส่วนหลักดังนี้
1. หมายเลขกำหนดลำดับของบรรทัด(ADDRESS)
2. ส่วนที่เป็นคำสั่ง(INSRUCTION)
3. หมายกับกับอุปกรณ์ภายใน PLCและหน้าสัมผัสต่าง(DATA)
5.3 ตัวอย่างการเขียนคำสั่งภาษาบูลลีนจากแลเดอร์ไดอะแกรม
ตัวอย่างที่ 1 วงจรสัญญาณข้าเพียงหนึ่งตัว(Input Cricuit)
แลดเดอร์ไดอะแกรม วงจรสัญญาณเข้าเพียงหนึ่งตัว |
|
วงจรอันดับหรือวงจรอนุกรม(Series Cricuti) |
|
วงจรขนาน (Parallel Cricuit) |
|
วงจรรักษาสภาวะให้คงไว้(Self Honlding Curit) |
|
วงจรสลับการทำงานหรือเลือกลำดับในการทำงาน |
|
วงจรผสม(Compound Criccurit) |
|
วงจรผสมชนิดใช้คำสั่ง OR LD(Copound Curit (OR LD)) |
ADDRESS
|
INSTRUCTION
|
DATA
|
00000
|
LD
|
00001
|
00001
|
LD
|
00002
|
00002
|
AND
|
00003
|
00003
|
OR LD
|
-
|
00004
|
AND
|
00004
|
00005
|
OUT
|
00002
|
00006
|
END
|
-
|
ตัวอย่างที่ 8 วงจรผสมใช้คำสั่งชนิด AND LD
วงจรผสมใช้คำสั่งชนิด AND LD |
ADDRESS
|
INSTRUCTION
|
DATA
|
00000
|
LD
|
00001
|
00001
|
AND NOT
|
00002
|
00002
|
LD
|
00003
|
00003
|
OR
|
00004
|
00004
|
AND LD
|
-
|
00005
|
AND NOT
|
00005
|
00006
|
OUT
|
00200
|
00007
|
END
|
-
|
ตัวอย่างที่ 9 วงจรผสมชนิดใช้คํ่าสั่งAND LD และ OR LD
วงจรผสมชนิดใช้คํ่าสั่งAND LD และ OR LD |
ADDRESS
|
INSTRUCTION
|
DATA
|
00000
|
LD
|
00001
|
00001
|
OR
|
00200
|
00002
|
LD
|
00003
|
00003
|
AND
|
00004
|
00004
|
LD
|
00005
|
00005
|
AND
|
00006
|
00006
|
OR LD
|
-
|
00007
|
AND LD
|
-
|
00008
|
OUT
|
00200
|
00009
|
END
|
-
|
ตัวอย่างที่ 10 วงจรสัญญาณออกรวม
วงจรสัญญาณออกรวม |
ADDRESS
|
INSTRUCTION
|
DATA
|
00000
|
LD
|
00001
|
00001
|
OUT
|
00200
|
00002
|
AND
|
00002
|
00003
|
OUT
|
00201
|
00004
|
AND
|
00003
|
00005
|
OUT
|
00202
|
00006
|
END
|
-
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น