การประยุกต์ใช้งาน
7.1 ขั้นตอนการประยุกต์ใช้งาน ศึกษา ขั้นตอนของระบบจัดลับดับขั้นตอนการทำงานให้ง่ายต่อการวิเคระห์กระบวนการทำ งานเพื่อให้ง่าย อาจกำหนดขั้นตอนเหล่านี้ได้ดว้ย TIMING DIAGRAM ของอินพุต และเอาต์พุต ที่เกี่ยวข้องทุกต้ว จาก เงื่อนไขของ TIMING DIAGRAM สามรถนำมากำหนดแลดเดอร์ไดอะแกรม (Ladder Diagram) ขึ้นได้ และต้องศึกษาคำสั่งพิเศษหรือฟังก์ชั่นพิเศษของ PC ที่ใช้อยู่และถ้าใช้ไดอะแกรมของ PC จะไม่สามมารถย้อนกลับทางได้เหมือนวงจรรีเลย์ ดังนั้นการเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรมควรยึด TIMING DIAGRAM เป็นหลักมากกว่าเป็นการยึดวงจรรีเลย์เป็นหลัก เขียน คำสั่งภาษาบูลลีนตามที่แลดเดอร์ไดอะแกรมที่กำหนดทำการกำหนดหมายเลข อินพุต เอาต์พุต รีเลย์ภายใน ตัวตั้งเวลา ตัวนับ ตามข้อกำหนดของPC ปอ้นโปรแกรมควบคุมหรือคำสั่งตามขั้นตอนที่3ลงในหน่วยความจำใน PC โดยใช้อุปกรณ์เขียนโปรแกรม เมื่อทำการป้อนโปรแกรมแล้วทำการทดสอบโปรแกรมก่อนใช้งานจริงว่าถูกต้องตามข้อกำหนดหรือไม่ถ้าไม่ถูกต้อง ทำการตรวจสอบแก้ใขให้สมบรูณ์ เมื่อแก้ไขสมบรูณ์แล้วนำไปทดลองใช้กับระบบจริง7.2 ตัวอย่างประยุกต์ใช้งาน ต้องการกาควบคุมมอเตอร์โดนยมีเงื่อนไขต่อไปนี้ กดสวิทช์ S2 เป็นการสตาร์ทมอเตอร์ให้ทำงาน กดสวิทช์ S1 เป็นการหยุดการทำงานของมอเตอร์ เมื่อมอเตอร์ทำงานเกินกำลังโอเวอร์โหลดรีเลย์จะทำงานตัดวงจรให้มอเตอร์หยุดการทำงานทันที สามรถสตาร์ทเริ่มทำงานใหม่ได้ตามขั้นตอน
-ศึกษาเงื่อนไขหลักการทำงานเขียนเป็นวงจรรีเลย์
อุปกรณ์ที่ใช้
ลำดับที่
|
ชื่ออุปกรณ์
|
จำนวน
|
หน่วยนับ
|
หมายเหตุ
|
1
|
Push Bustton switch NC |
1
|
ตัว
|
|
2
|
Push Bustton switch NO |
1
|
ตัว
|
|
3
|
Thermal Over Load Relay 3 Phase |
1
|
ตัว
|
|
4
|
Cartridge Fuse |
4
|
ตัว
|
|
5
|
Pilot Lamp |
1
|
ดวง
|
|
6
|
Magnetic contactor 3 phase Auxiliary 1 NO |
1
|
ตัว
|
ตาราง อินพุท / เอาท์พุทแปลงรีเลย์เลย์เป็นแลดเดอร์ไดอะแกรม
ตําแหน่ง สัญลักษณ์และความหมายอินพุต 00001 S1 = สวิทช ์STOP อินพุต 00002 S2 = สวิทช์มอเตอร์หมุนตามเข็มนาฬิกา อินพุต 00004 F3 = โอเวอร์โหลด เอาต์พุต 00200 K1 = มอเตอร์
เขียนคำสั่งภาษาบูลลีนจากแลดเดอร์ไดอะแกรม
ADDRESS
|
INSTRUCTION
|
DATA
|
00000
|
LD
|
00002
|
00001
|
OR
|
00200
|
00002
|
AND NOT
|
00003
|
00003
|
AND NOT
|
00001
|
00004
|
OUT
|
00200
|
00005
|
END
|
-
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น